ประเภทการใช้งานของตัวกระทำกับความสัมพันธ์ มี 2 ขั้นขั้นพื้นฐานSelectionProjectionCross ProductSet DifferenceUnionขั้นสูงJoinIntersection, divisionโดยแบ่งประเภทการกระทำออกเป็น 2 รูปแบบUnary Operatorsตัวกระทำที่ต้องการความสัมพันธ์เดียว เช่น SELECT, PROJECT ,RENAMEBinary Operatorsตัวกระทำที่ต้องการความสัมพันธ์ 2 ความสัมพันธ์ เช่น Union, Intersection, Difference, Cartesian product -- ตัวดำเนินการ Selection (σ) -- เครื่องหมาย: Sigma (σ)ความหมาย: ใช้เลือกข้อมูล(แถว) ที่ตรงกับเงื่อนไขที่กำหนดตัวกระทำทางตรรกะ: ˄ (และ), ˅ (หรือ), ¬ (นิเสธ)รูปแบบการใช้งานσ เงื่อนไข (ชื่อ Table / Relation) ตัวอย่างσ height > 160 (Student) เลือกข้อมูลจาก Table->Student โดยเอาเฉพาะข้อมูลที่มีค่า height มากกว่า 160σ height > 160 ˄ weight < 60 (Student)เลือกข้อมูลจาก Table->Student โดยเอาเฉพาะข้อมูลที่มีค่า height มากกว่า 160 และweight น้อยกว่า 60 -- ตัวดำเนินการ Projection (π) -- เครื่องหมาย: Pi (π)ความหมาย: ใช้เลือก Column เฉพาะที่ต้องการรูปแบบการใช้งานπ column 1,column 2,. . . (ชื่อ Table / Relation)ตัวอย่างπ weight, height (Student)เลือกข้อมูลจาก Table->Student โดยเอาเฉพาะคอลัมน์ weight และ height -- ตัวดำเนินการ Join (⋈) -- เครื่องหมาย: ความสัมพันธ์ (⋈)ความหมาย: ใช้รวมข้อมูลจากตารางอื่น ๆ เข้าด้วยกันรูปแบบการใช้งาน(ชื่อ Table / Relation หลัก)⋈ Foreign Key (ชื่อ Table / Relation ที่ Join)ตัวอย่าง(Student)⋈ faculty_id=faculty_id (Faculty)เลือกข้อมูลจาก Table->Student และ Table->Faculty โดยมีเงื่อนไขการตรวจสอบคือ faculty_id (ของ Table Student) = faculty_id (ของ Table Faculty) ประเภทของเงื่อนไข (Constraints) Key Constraint มี 2 รูปแบบPRIMARY KEY ค่าจะไม่เป็น NULL (ค่าว่าง) และถูกใช้เป็นดัชนีในการเรียงลำดับเสมอUnique เป็นคีย์เอกลักษณ์ Post Views: 128 Wutthiphon Tassana